บทความ

เรื่องที่ 5 แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

รูปภาพ
HOMEPAGE แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก จากแบบจำลองอะตอมของโบร์ ไม่สามารถอธิบายสมบัติบางอย่างของธาตุที่มีหลายอิเล็กตรอนได้จึงมีการศึกษาเพิ่มเติมและเชื่อว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นได้ทั้ง คลื่นและอนุภาคการศึกษาเพิ่มเติมและเชื่อว่า อิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นได้ทั้ง คลื่นและอนุภาคสรุปแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกแบบจำลองนี้เชื่อว่า      1. อิเล็กตรอนไม่ได้เคลื่อนที่เป็นวงกลม แต่เคลื่อนที่ไปรอบๆนิวเคลียส เป็นรูปทรงต่างๆตามระดับพลังงาน      2. ไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้เนื่องจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมาก และเคลื่อนที่รวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม      3. อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส บริเวณที่มีหมอกทึบแสดงว่ามีโอกาสพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีหมอกจาง อ้างอิง :  https://sites.google.com/site/sciencephatchara/khorngsrang-xatxm-khux-xari?fbclid=IwAR05HlWI2EbdoSWJdtFasSKru4qQpMFdUW4KzR26EF4ENeDbHXoE7-ME-YQ

เรื่องที่ 4 แบบจำลองอะตอมของนิลส์ โบร์

รูปภาพ
HOMEPAGE แบบจำลองอะตอมของนิลส์ โบร์ นีลส์    โบร์ จึงได้เสนอแบบจำลองอะตอม โดยอาศัยทฤษฎีของพลังค์และอัลเบิร์ตไอน์สไตน์ ที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับความถี่ของคลื่น ( ควอนตัม ) รวมทั้งความรู้เรื่องของเส้นสเปกตรัม เรื่องเส้นสเปกตรัม 1. เมื่ออิเล็กตรอนได้รับพลังงาน จึงขึ้นไปอยู่ในระดับพลังงานที่สูงขึ้น ทำให้อะตอมไม่เสถียร อิเล็กตรอนจึงคาย พลังงานเท่ากับพลังงานที่ได้รับเข้าไปพลัง    งานส่วนใหญ่ที่คายออกอยู่ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปรากฏเป็นเส้น สเปกตรัม 2. การเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็กตรอน อาจมีการเปลี่ยนข้ามขั้นได้ 3. อิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่ำจะอยู่ใกล้นิวเคลียส 4. ระดับพลังงาต่ำอยู่ห่างกันมากกว่าระดับพลังงานสูง ระดับพลังงานยิ่งสูงขึ้นจะยิ่งอยู่ชิดกันมากขึ้น สรุปแบบจำลองอะตอมของ นีลส์    โบร์     1.  อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆตามระดับพลังงาน   และแต่ละชั้นจะมีพลังงานเป็นค่าเฉพาะตัว                                  2.  อิเล็กตรอนที่อยู่ใกล้นิวเคลียสมากที่สุดจะเรียกว่าระดับพลังงานต่ำสุดยิ่งอยู่ห่างจากนิวเคลียสมากขึ้นระดับพลังงานจะยิ่ง

เรื่องที่ 3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

รูปภาพ
HOMEPAGE แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด รัทเทอร์ฟอร์ด (E.Rutherford) ได้ทำการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปในแผ่นทองคำเปลวบางๆ อนุภาคแอลฟาเป็นอนุภาคที่มีมวลเป็นสี่เท่าของอะตอมไฮโดรเจนและมีประจุ +2e โดยมากเกิดจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เช่น เรเดียม อนุภาคแอลฟาที่ใช้มีพลังงานสูงถึง 7.6 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ พบว่าเมื่ออนุภาคแอลฟาวิ่งผ่านทองคำเปลวโดยมากจะทะลุไปตรงๆ หรือหักเหน้อยมาก   แต่ก็มีบางตัวที่หักเหจากแนวเดิมเป็นมุมใหญ่ๆ ผลการทดลองของรัทเทอร์ฟอร์ดสรุปได้ว่า           1. อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่   :  ผ่านเป็นเส้นตรง    แสดงว่าในอะตอมมีที่ว่าง           2. อนุภาคแอลฟาส่วนน้อย  :  หักเห   ( เลี้ยวเบน )   แสดงว่าชนกับโปรตอนที่มีมวลมากอยู่ด้านข้างของอะตอม          3.  อนุภาคแอลฟาบางส่วน  :  สะท้อนกลับมาด้านหน้าแสดงว่าชนกับโปรตอนในส่วนกลางของอะตอมที่มีมวลจำนวนมาก    เรียกว่า   “ นิวเคลียส ” Ä   นิวเคลียสมีขนาดเล็ก มีมวลมาก ควรจะประกอบด้วยโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอน เพราะอิเล็กตรอนมีมวลน้อยมาก   จะไม่มีผลต่อการสะท้อนกลับของอนุภาคแอลฟา                  ต่อมา เจมส์ แชดวิก    ได้

เรื่องที่ 2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน

รูปภาพ
HOMEPAGE แบบจำลองอะตอมของทอมสัน ก่อนอื่นเราต้องมาทำความรู้จักกับ รังสีแคโทด    ( cathode ray)   ที่ทดลองได้จากการใช้หลอดแก้วที่สูบอากาศออก และมีขั้วโลหะ 2 อันอยู่คนละข้างคือแอโนดเป็นขั้วไฟฟ้าบวกและแคโทดเป็นขั้วไฟฟ้าลบของหลอดแก้วและต่อไปยังไฟฟ้าที่มีศักย์สูงทำให้เกิดรังสี และค้นพบอิเล็กตรอน ทอมสันเป็น คนแรก พิสูจน์ว่าอิเล็กตรอนเล็กกว่าอะตอม จากการทดลองของทอมสัน พบว่า อนุภาคในรังสีแคโทดมีประจุไฟฟ้าชนิดลบ เพราะสังเกต   จากแนวการเบนของอิเล็กตรอนในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก    ทอมสัน สรุปได้ว่ารังสีแคโทดที่ได้จากโลหะต่างชนิดกันเป็นอนุภาคชนิดเดียวกัน เพราะ q/m ของโลหะทุกชนิดมีค่าเท่ากันนั่นเอง อนุภาคนั้นก็คือ อิเล็กตรอน ทอมสันสามารถแยกอิเล็กตรอนออกจากอะตอมเขาจึงสรุปว่าอะตอมยังแบ่งแยกต่อไปได้อีก ขึ้นภายในหลอดแก้ว ซึ่งมองเห็นได้จากจุดสว่าง เมื่อรังสีกระทบฉากเรื่องแสง ที่ใส่ไว้ เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน   ให้แนวคิดอะตอมขึ้นใหม่ ดังนี้ " อะตอมมีลักษณะเป็นรูปทรงกลมประกอบด้วยอนุภาคที่มี ประจุบวกและมีอิเล็กตรอน ซึ่งมีประจุไฟฟ้าลบอะตอมโดยปกติอยู่ในสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าซึ่งทำให้ทั้งส

เรื่องที่ 1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน

รูปภาพ
HOMEPAGE แบบจำลองอะตอมของดอลตัน ในสมัยนั้น เชื่อว่าสสารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก เรียกว่ากันว่า  อะตอม ซึ่ง  แบ่งแยกไม่ได้หรือทำให้เกิดใหม่หรือสูญหายไปไม่ได้อะตอมของธาตุเดียวกันจะมีสมบัติเหมือนกันอะตอมของธาตุต่างชนิดกันมีสมบัติต่างกันการเกิดสารประกอบเกิดจากอะตอมธาตุต่างชนิดกันมารวมตัวกันด้วยอัตราส่วน อะตอมคงที่และเป็นเลข  จำนวนน้อย ดอลตันยังพบอีกว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมีเกิดจากการที่อะตอมธาตุต่างๆมีการแลกเปลี่ยนที่อยู่ซึ่งกันและกันไม่มีการสูญหาย ไปไหนเลย  เราจึงสรุปได้ว่า  แบบจำลองอะตอมของ ดอลตัน คือ        " อะตอมที่มีขนาดเล็กมาก แบ่งแยกไม่ได้" อ้างอิง :  https://sites.google.com/site/sciencephatchara/khorngsrang-xatxm-khux-xari?fbclid=IwAR05HlWI2EbdoSWJdtFasSKru4qQpMFdUW4KzR26EF4ENeDbHXoE7-ME-YQ

ศาสตร์พระราชา

รูปภาพ
HOMEPAGE